[vc_row][vc_column width=”1/4″][vc_single_image image=”720″ img_size=”full”][/vc_column][vc_column width=”3/4″][vc_column_text]
2438
ศาสตราจารย์ คอนราดฟอนเรินตเกน แห่งมหาวิทยาลัย วุซเบิร์กประเทศเยอรมัน พบรังสีเอ็กซ์[/vc_column_text][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”716″ img_size=”full”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2441
นายแพทย์อาดัมเซ็น (พระบำบัดสรรพโรค) ได้สั่งเครื่องเอ็กซเรย์เครื่องแรกเข้ามาในประเทศไทย ในกองลหุโทษ[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”728″ img_size=”full”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2446
นายแพทย์ติลิกี (พระยาวิรัชเวชกิจ) ได้สั่งเครื่องเอ็กซเรย์ เครื่องที่2 มาจากประเทศอังกฤษ[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2455
เปิด “วชิรพยาบาล” พระยาวิรัชเวชกิจได้นำเครื่องเอ็กซเรย์ของท่านมาใช้ที่โรงพยาบาลแห่งนี้เป็นที่แห่งแรก[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”729″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/2″][vc_column_text]
2457
โรงพยาบาลทหารเรือ ได้สั่งเครื่องเอ็กซเรย์มาใช้ในประเทศไทย โดย นาวาโท นายแพทย์เบอร์เมอร์ เป็นผู้ใช้เครื่อง โรงพยาบาลสภากาชาดไทย ได้สั่งเครื่องเอ็กซเรย์เข้ามาใช้ในประเทศไทยโดย นายแพทย์ฟรีดริก เชเฟอร์ ผู้อำนวยการท่านแรกของโรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์ สภากาชาดไทย พระบาทสมเด็จพระมงกุฏเกล้าเจ้าอยู่หัว ได้เสด็จพระราชดำเนินเปิดโรงพยาบาลสภากาชาดไทย และทรงให้ถ่ายเอ็กซเรย์ทรวงอกของพระองค์เป็นปฐมฤกษ์[/vc_column_text][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”731″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”733″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2458
โรงพยาบาลกลางได้สั่งเครื่องเอ็กซเรย์เข้ามาใช้ในประเทศไทยต่อมาโรงพยาบาลเซ็นต์หลุยส์และเนิสซิงโฮมซึ่งเป็นสถานพยาบาลเอกชนก็ได้สั่งเครื่องเอ็กซเรย์เข้ามาตามลำดับ นายแพทย์เอช แคมพ์เบลล์ ไฮเอต ผู้อำนวยการท่านที่สองของโรงพยาบาลกลาง ซึ่งคาดว่าน่าจะเป็นผู้สั่งเครื่องเอกซเรย์เครื่องที่ 5 ของไทย[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”735″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/2″][vc_column_text]
2471
เปิดเอกซเรย์ตรวจและรักษาที่โรงพยาบาลศิริราช นายแพทย์ พิณ เมืองแมน(หลวงพิณพากย์พิทยาเภท) เป็น หัวหน้าแผนก ”เอกซเรย์วิทยา” เริ่มต้นศักราชรังสีวิทยาสมัยปัจจุบันในประเทศไทย[/vc_column_text][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”734″ img_size=”full” alignment=”center”][vc_column_text]
ภาพเอกเรย์เครื่องแรกในโรงพยาบาลศิริราช
[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”737″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/2″][vc_column_text]
2472
เครื่องเอกซเรย์เครื่องแรกของแมคคอร์มิค หรือเครื่องที่ 9 ของไทย[/vc_column_text][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”738″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2475
โรงพยาบาลจังหวัดภูเก็ต เป็นโรงพยาบาลต่างจังหวัด ของกรมสาธารณสุขมีเครื่องเอ็กซเรย์เป็นแห่งแรก นายแพทย์ หลวงสนั่นวรเดชเป็นผู้นำไปใช้[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”740″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2478
เครื่องเอ็กซเรย์โวลท์เทจสูง 230 กิโลโวลท์ เครื่องแรก ที่คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ซื้อด้วยเงินพระราชทานจากพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์จำนวน 16,000 บาท เปิดศักราชของการรักษาโรคมะเร็งด้วยรังสี เครื่องรังสีรักษามะเร็ง เครื่องแรกของประเทศไทย ที่โรงพยาบาลศิริราช จากพระกรุณาของพระองค์เจ้าจุลจักรพงษ์[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2481
คณะแพทย์ศาสตร์และศิริราชพยาบาล ได้สั่งซื้อแร่ราเดียมเข้ามาใช้รักษาผู้ป่วยโรคมะเร็งเป็นแห่งแรกจำนวน 330 มก. และได้ทำการรักษามะเร็งปากมดลูกในปีนั้น[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2483
แพทย์หญิง คุณตวัน สุรวงศ์ เริ่มปฎิบัติงานรังสีวิทยาที่โรงพยาบาลจุฬาลงกรณ์[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”741″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2498
เปิดหน่วยเวชศาสตร์นิวเคลียร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล ต่อมาเปลี่ยนเป็น สาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2500
เครื่องรักษามะเร็งโคบอลต์60 ราคา 1 ล้านบาท ที่ได้รับบริจาคจากรัฐบาลสหรัฐอเมริกา ใช้เป็นครั้งแรกที่โรงพยาบาลศิริราช[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”744″ img_size=”full” alignment=”center”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2504
ตั้งสำนักงานปรมาณูเพื่อสันติแห่งประเทศไทย พลอากาศจัตวา สวัสดิ์ ศรีสุข เป็นเลขาธิการมี พรบ. พลังงานปรมณูเพื่อสันติ เพื่อควบคุมการใช้รังสีและสารกัมมันตภาพรังสี เปิดแผนกรังสีวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่ นายแพทย์ ดุษฎี ประภาสะวัต เป็นหัวหน้าแผนก[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2506
ตั้งรังสีวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย ศาสตราจารย์นายแพทย์หลวงพิณพากย์ภาคพิทยาเภท เป็นนายกฯ[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2508
เปิดแผนกรังสีวิทยา คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี นายแพทย์ทวี บุญโชติ เป็นหัวหน้าแผนกตั้งโรงเรียนรังสีเทคนิคแห่งแรก ที่คณะเทคนิคการแพทย์ มหาวิทยาลัยแพทย์ศาสตร์ หลักสูตร4ปี (ขั้นปริญญา) โดยนายแพทย์ สุพจน์ อ่างแก้ว เป็นผู้อำนวยการรังสีวิทยาสมาคมแห่งประเทศไทย ส่งคณะรังสีแพทย์ ผู้แทนของประเทศไทยไปร่วมประชุมรังสีวิทยานานาชาติ ครั้งที่11 ที่กรุงโรม ประเทศอิตาลี[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2512
เปิดโรงเรียนรังสีเทคนิค ที่คณะแพทย์ศาสตร์โรงพยาบาลรามาธิบดี หลักสูตร2ปี (ขั้นประกาศนียบัตร) นายแพทย์กุณฑล สุนทรเวช เป็นผู้อำนวยการ[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2514
เปิดหน่วยฟิสิกส์การแพทย์ ที่บัณฑิตวิทยาลัย ร่วมมือกับสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์ คณะแพทย์ศาสตร์ศิริราชพยาบาล และเปิดโรงเรียนฟิสิกส์การแพทย์ ที่คณะแพทย์โรงพยาบาลรามาธิบดี ในเวลา นายแพทย์ กวี ทังสุบุตร เป็นผู้อำนวยการ[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”745″ img_size=”full”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2517
เครื่องอัลตร้าซาวด์ทางการเเพทย์เครื่องเเรกของประเทศไทย ที่ ภาควิชาสูตินรีเวช รพ.จุฬา[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”750″ img_size=”full”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2528
จัดตั้งสมาคมรังสีรักษาแห่งประเทศไทย[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”747″ img_size=”full”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2531
เครื่องตรวจอวัยวะด้วยสนามเเม่เหล็กMRI เครื่องแรกในประเทศไทย เป็นชนิด Permanent magnet 0.2 tesla ติดตั้ง ที่ศูนย์เอกซเรย์พญาไท อนุสาวรีย์ชัยสมรภูมิ[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2538
จัดตั้ง ราชวิทยาลัยรังสีแพทย์ แห่งประเทศไทย[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row][vc_row][vc_column][vc_separator][vc_row_inner][vc_column_inner width=”1/4″][vc_single_image image=”748″ img_size=”full”][/vc_column_inner][vc_column_inner width=”3/4″][vc_column_text]
2548
เครื่อง PET/CT scan เครื่องเเรกในประเทศไทย เป็นของบริษัทPhilips และมีเครื่อง cyclotronติดตั้งที่ รพ.กรุงเทพ ซอยศูนย์วิจัย[/vc_column_text][/vc_column_inner][/vc_row_inner][/vc_column][/vc_row]