การค้นพบเอกซเรย์ (X-rays) โดย Wilhelm Conrad Roentgen ศาสตราจารย์สาขาฟิสิกส์จากมหาวิทยาลัย Wurzburg ประเทศเยอรมันนี
Wilhelm Conrad Roentgen ได้รับรางวัลโนเบลสาขาฟิสิกส์จากการค้นพบเอกซเรย์
1. ภาพเอกซเรย์ที่ใช้ในการแพทย์ครั้งแรกในสหรัฐอเมริกาที่มหาวิทยาลัย Dartmouth
2. มีการนำรังสีเอกซเรย์ไปใช้ในการรักษามะเร็งกระเพาะอาหารเป็นครั้งแรกโดยแพทย์ชาวฝรั่งเศส Victor Despeignes
3. การค้นพบสารกัมมันตรังสีครั้งแรกบนโลกนี้ของ Henri Becquerel นักฟิสิกส์ชาวฝรั่งเศส
ค้นพบ Radium โดย Marie Curie นำไปสู่การใช้รังสีในการรักษาโรคมะเร็งและโรคต่างๆ
Hermann L. Blumgart เป็นผู้นำสารเภสัชรังสีมาศึกษาในมนุษย์ โดยยึดแนวคิดของ George Charles de Hevesy (1913)
แพทย์ชาวโปรตุเกสพัฒนาเทคนิคในการตรวจหลอดเลือดแดงของสมองโดยสามารถแสดงภาพเอ็กซเรย์หลอดเลือดได้เป็นครั้งแรก
John H. Lawreace ได้นำสารกัมมันตรังสีมาใช้ในการรักษาผู้ป่วยมะเร็งเป็นครั้งแรก
พัฒนาการใช้เอกซเรย์ชนิด Fluoroscopy เพื่อใช้ในการตรวจอวัยวะแบบ Realtimeโดยมองผ่านจอทีวี(มีหลักฐานว่า Thomas Edison เป็นผู้คิดค้นเอกซเรย์ชนิดนี้ตั้งแต่ ค.ศ. 1890 )
นำคลื่นเสียงความถี่สูงมาใช้ทางการแพทย์เป็นครั้งแรกที่ประเทศออสเตรีย
จุดเริ่มต้นของสาขาวิชาเวชศาสตร์นิวเคลียร์( Nuclear Medicine) จากการนำสารกัมมันตรังสีไอโอดีน( I-131) มาใช้ในการรักษาโรคมะเร็งต่อมไทรอยด์ จนนำไปสู่การใช้สารกัมมันตรังสีในการวินิจฉัยและรักษาโรคอย่างแพร่หลาย
มีการนำประโยชน์จากเครื่องเอกซเรย์ชนิด Fluoroscopyไปใช้ในการช่วยทำการขยายหลอดเลือด(Angioplasty) เป็นครั้งแรกโดย Charles Dotter ก่อนที่ Andreas Gruentzig จะทำการขยายหลอดเลือดหัวใจ Coronaryในอีก 10 ปีต่อมา
CTหรือเอ็กซเรย์คอมพิวเตอร์ถูกคิดค้นโดยวิศวกรชาวอังกฤษชื่อ Godfrey Housfield และนักฟิสิกส์เชื้อสายแอฟริกาใต้ชื่อ Allan Cormack ซึ่งได้ต่อมาได้รับรางวัลโนเบลและนำไปสู่การผลิตเครื่อง CT scan เครื่องแรกในปีค.ศ. 1974
PET Scan ซึ่งถือเป็นเวชศาสตร์นิวเคลียร์ยุคใหม่เกิดขึ้นในปีนี้
การผสมผสานระหว่างการตรวจทางเวชศาสตร์นิวเคลียร์และรังสีวินิจฉัยนำไปสู่เทคโนโลยีการตรวจโรคที่เรียกว่า PET-CT
เครื่อง MRI หรือเครื่องตรวจอวัยวะด้วยสนามแม่เหล็กเครื่องแรกจากพื้นฐานการคิดค้นพบพลังงานสนามแม่เหล็กของ Nikola Testla ในปีค.ศ. 1882 และการค้นพบปรากฏการณ์ Nuclear magnetic resonance (NMR) โดยนักฟิสิกส์อเมริกันในปีค.ศ. 1930
ชั้น 9 อาคารเฉลิมพระบารมี 50 ปี เลขที่ 2 ซอยศูนย์วิจัย 1 ถนนเพชรบุรีตัดใหม่ แขวงบางกะปิ เขตห้วยขวาง กรุงเทพฯ 10310
โทรศัพท์/Tel : 02-7165963
โทรสาร/Fax : 02-7165964
Email : [email protected]
แพทยสภา
หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง
ภาควิชารังสีวิทยา ศิริราชพยาบาล
ภาควิชารังสีวิทยา จุฬาลงกรณ์มหาวิทยาลัย
ภาควิชารังสีวิทยา มหาวิทยาลัยเชียงใหม่
ภาควิชารังสีวิทยา โรงพยาบาลรามาธิบดี
ภาควิชารังสีวิทยา มหาวิทยาลัยขอนแก่น
ภาควิชารังสีวิทยา มหาวิทยาลัยสงขลานครินทร์
กองรังสีกรรม โรงพยาบาลพระมงกุฎเกล้า
ภาควิชารังสีวิทยา มหาวิทยาลัยธรรมศาสตร์
American College of Radiology
Cookie | Duration | Description |
---|---|---|
cookielawinfo-checkbox-analytics | 11 months | คุกกี้นี้กำหนดโดยปลั๊กอินความยินยอมของคุกกี้ PDPA คุกกี้ใช้เพื่อจัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้สำหรับคุกกี้ในหมวดหมู่ "Analytics" |
cookielawinfo-checkbox-functional | 11 months | คุกกี้ถูกกำหนดโดยความยินยอมของคุกกี้ PDPA เพื่อบันทึกความยินยอมของผู้ใช้สำหรับคุกกี้ในหมวดหมู่ "การทำงาน" |
cookielawinfo-checkbox-necessary | 11 months | คุกกี้นี้กำหนดโดยปลั๊กอินความยินยอมของคุกกี้ PDPA คุกกี้ใช้เพื่อจัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้สำหรับคุกกี้ในหมวดหมู่ "จำเป็น" |
cookielawinfo-checkbox-others | 11 months | คุกกี้นี้กำหนดโดยปลั๊กอินความยินยอมของคุกกี้ PDPA คุกกี้ใช้เพื่อจัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้สำหรับคุกกี้ในหมวดหมู่ "อื่นๆ |
cookielawinfo-checkbox-performance | 11 months | คุกกี้นี้กำหนดโดยปลั๊กอินความยินยอมของคุกกี้ PDPA คุกกี้ใช้เพื่อจัดเก็บความยินยอมของผู้ใช้สำหรับคุกกี้ในหมวดหมู่ "ประสิทธิภาพ" |
viewed_cookie_policy | 11 months | คุกกี้ถูกกำหนดโดยปลั๊กอินคำยินยอมคุกกี้ PDPA และใช้เพื่อจัดเก็บว่าผู้ใช้ยินยอมให้ใช้คุกกี้หรือไม่ มันไม่ได้เก็บข้อมูลส่วนบุคคลใด ๆ |